10201 จำนวนผู้เข้าชม |
น้องบัวลอย สุนัขพันธุ์ปอมเมอเรเนียน อายุ 4 ปี เพศเมีย มาเข้ารับการผ่าตัดแก้ไขข้อ สะบ้าเคลื่อนโดย คุณหมอชุมพล สัตวแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านก ระดูก-ข้อและการผ่าตัด
ก่อนหน้านี้ น้องบัวลอยมีปัญหาเรื่องการ เดิน และเจ็บขาบ่อยๆ เพราะข้อสะบ้าเคลื่อนทั้งสอ งข้าง โดยการกายภาพและกินยาช่วยบร รเทาอาการเจ็บปวดได้บ้าง แต่ยังคงกลับมาเป็นอีกเนื่อ งจากข้อสะบ้าของน้องบัวลอยท ี่เคลื่อนหลุดนั้นจัดอยู่ใน เกรดที่สูง คุณหมอชุมพลจึงแนะนำการผ่าตัดแล ะกายภาพภายหลังการผ่าตัดเพื ่อแก้ไขปัญหาข้อสะบ้าเคลื่อ น ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมสำหร ับน้องบัวลอยมากที่สุด และทางเจ้าของน้องบัวลอยก็ไ ว้วางใจให้ทีมสัตวแพทย์ไอเว ็ทดูแลและวางแผนการรักษาทั้ งหมด
Note
- โรคข้อสะบ้าเคลื่อน (patellar luxation) โดยลูกสะบ้าที่เป็นกระดูกกล มรีที่หัวเข่าเคลื่อนออกจาก ร่องกระดูกเข่าไปทางด้านใน (median patellar luxation) มักพบในสุนัขพันธุ์เล็ก ได้แก่ พันธุ์ปอมเมอเรเนียน พันธุ์ชิวาวา พันธุ์ยอร์คเชียร์เทอร์เรีย พันธุ์ปักกิ่ง พันธุ์พูเดิ้ลทอย พันธุ์ชิสุ เป็นต้น โดยแบ่งระดับออกเป็น 4 เกรด
เกรดที่ 1 ลูกสะบ้ายังคงอยู่ในร่องหัว เข่าอยู่ อาจเคลื่อนออกมาเป็นบางครั้ ง สุนัขยังไม่แสดงอาการให้เห็ นชัด
เกรดที่ 2 ลูกสะบ้าจะเคลื่อนหลุดออกมา และค้างอยู่นอกร่องบ่อยขึ้น สุนัขจะเริ่มแสดงอาการเจ็บข าหรือยกขาให้เห็นบ้าง
เกรดที่ 3 ลูกสะบ้าจะเคลื่อนหลุดออกมา จากร่องตลอดเวลา มีบางจังหวะที่เคลื่อนกลับไ ปอยู่ในร่องได้บ้าง สุนัขเริ่มแสดงอาการเจ็บขาใ ห้เห็นชัดขึ้น มักพบว่าสุนัขจะมีอาการขาบิ ดและไม่ยอมลงน้ำหนักขาร่วมด ้วย
เกรดที่ 4 ลูกสะบ้าเคลื่อนหลุดอยู่นอก ร่องอย่างตลอดเวลาและไม่กลั บเข้าที่เดิม กระดูกขาบิด ร้องเจ็บบ่อย ยกขาตลอด หากเป็นทั้งสองข้าง สุนัขจะไม่อยากลุกหรือเดินเ ลย หากเจ้าของสังเกตุเห็นความผ ิดปกติ ควรพาน้องสุนัขมาปรึกษาและต รวจอย่างละเอียดกับสัตวแพทย ์ค่ะ
- ก่อนการผ่าตัด จำเป็นที่จะต้องตรวจความสมบ ูรณ์ของค่าเม็ดเลือด ตรวจค่าบ่งชี้การทำงานของตั บและไต เพื่อดูความพร้อมในการวางยา สลบและผ่าตัด
- ภายหลังการผ่าตัดแก้ไขข้อสะ บ้า ในช่วงแรกต้องจำกัดบริเวณ งดกระโดดหรือขึ้นบันได จากนั้นสุนัขควรได้รับการกา ยภาพ เพื่อช่วยเสริมสร้างความแข็ งแรงให้กับกล้ามเนื้อและข้อ ต่อ ซึ่งจะช่วยทำให้สุนัขกลับมา เดินและใช้ขาได้อย่างปกติมา กที่สุด ทั้งนี้รูปแบบและระยะเวลาใน การกายภาพจะต้องให้คุณหมอผู ้เชี่ยวชาญประเมินตามความเห มาะสมอีกที
- วิธีที่ช่วยลดความรุนแรงของ โรคสะบ้าเคลื่อน ได้แก่ หลีกเลี่ยงพื้นลื่น ไถขนเท้าบ่อยๆ ออกกำลังกายเป็นประจำเพื่อเ พิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื ้อเช่น ว่ายน้ำ เดินลู่ และควบคุมน้ำหนักไม่ให้อ้วน เกินไป
สัตวแพทย์ผู้ทำการผ่าตัด : น.สพ. ชุมพล จิตรกร
สัตวแพทย์ผู้วางยาผ่าตัด : สพ.ญ. วรัญญา กิจสาสน